เมนู

19. สัมปยุตตปัจจัย


[95] 1. สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม ด้วย-
อำนาจของสัมปยุตตปัจจัย เหมือนกับสัมปยุตตปัจจัย ในปฏิจจวาระ.

พึงกระทำเป็น 6 วาระ.

20. วิปปยุตตปัจจัย


[96] 1. สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม ด้วย
อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้ง
หลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตา
รูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้
ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
2. อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม ด้วย
อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี 3 อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตา
รูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย,
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่
กายวิญญาณ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม และโมหะ
ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรมที่เกิดภายหลัง และโมหะ เป็นปัจจัย
แก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
3. อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม ด้วย
อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสเหตุก-
ธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม ด้วย
อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
4. อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม และ
อเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
5. สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่
อเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ
เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะที่เกิดภาย
หลัง และโมหะ เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

21. อัตถิปัจจัย


[97] 1. สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย